แนวข้อสอบ พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) แบบทดสอบออนไลน์ ข้อสอบ พร้อมเฉลย

457
Created on By admin
แนวข้อสอบ พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA)

พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA)

แนวข้อสอบ พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA)

1 / 46

เป็นหน่วยงานของรัฐตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

2 / 46

กรณีที่ไม่อาจปฏิเสธคำขอได้ ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องดำเนินการตามคำขอโดยไม่ชักช้า หากผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ดำเนินการไม่ทันภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด มีโทษตามข้อใด

3 / 46

โดยทั่วไปผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลที่ใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล โดยไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นเกิดความเสียหาย ต้องระวางโทษทางอาญาตามข้อใด

4 / 46

โดยหลักทั่วไป พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ใช้บังคับตั้งแต่วันใด

5 / 46

เมื่อผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลได้รับคำขอการเพิกถอนจากเจ้าของข้อมูลแล้ว ต้องทำอย่างไร

6 / 46

ผู้มีอำนาจหน้าที่ออกหนังสือแจ้งให้ผู้ใดส่งเอกสารหรือหลักฐานเกี่ยวกับการดำเนินการตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

7 / 46

ข้อใดมิใช่ความรับผิดทางแพ่ง ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

8 / 46

หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ขอเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องทำอย่างไร

9 / 46

กรณีเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลขอรับสำเนาข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตน ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องดำเนินการตามคำขอภายในกี่วัน

10 / 46

ข้อจำกัดในการใช้สิทธิลบข้อมูลส่วนบุคคล คือข้อใด

11 / 46

กรณีที่ไม่อาจปฏิเสธคำขอได้ ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องดำเนินการตามคำขอโดยไม่ชักช้า ภายในกี่วัน

12 / 46

ข้อใดไม่ถูกต้อง (พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 )

13 / 46

ผู้มีหน้าที่และอำนาจพิจารณาเรื่องร้องเรียนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

14 / 46

การขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งเป็นคนไร้ความสามารถ ต้องขอความยินยอมจากผู้ใด

15 / 46

ผู้มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญในแต่ละเรื่อง

16 / 46

ข้อใด มิใช่ข้อยกเว้น ในการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลโดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล

17 / 46

การยกเว้นไม่ให้นำบทบัญญัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 มาใช้บังคับแก่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล จะต้องออกเป็นกฎหมายใด

18 / 46

ผู้มีหน้าที่จัดให้มีระบบการตรวจสอบ เพื่อดำเนินการลบหรือทำลายข้อมูลส่วนบุคคล เมื่อพ้นกำหนดเวลาการเก็บรักษา

19 / 46

Right to erasure สอดคล้องกับข้อใด

20 / 46

เงื่อนไขในการใช้สิทธิลบข้อมูลส่วนบุคคล ข้อใดไม่เกี่ยวข้อง

21 / 46

ผู้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

22 / 46

ผู้มีหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชน เกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

23 / 46

สิทธิขอเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคล ยกเว้น เรื่องใด

24 / 46

นาย ก ได้เดินทางเข้ามาในประเทศไทย ถูกตรวจพบว่าเป็นโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดซึ่งอาจแพร่เชื้อได้ นาย เอ สามารถใช้สิทธิในการลบข้อมูลส่วนบุคคลได้หรือไม่

25 / 46

บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งมีอำนาจหน้าที่ตัดสินใจเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล” คือความหมายตามข้อใด

26 / 46

ผู้มีหน้าที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล

27 / 46

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

28 / 46

โดยทั่วไปหากมีการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลมีหน้าที่แจ้งเหตุการละเมิดดังกล่าวแก่สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ภายในกำหนดเวลาใด

29 / 46

หากมีการส่งต่อหรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลต่อสาธารณะและเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลขอให้ลบหรือทำลายข้อมูลดังกล่าว ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องดำเนินการอย่างไร

30 / 46

ผู้มีอำนาจสั่งให้บุคคลใดส่งเอกสารหรือข้อมูลเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

31 / 46

สิทธิในการขอให้โอนย้ายข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา 31 ข้อใดไม่สอดคล้อง

32 / 46

มาตรการทางกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ในกรณีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่ดำเนินการแก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลให้ถูกต้อง

33 / 46

หลักการสำคัญของสิทธิในการเพิกถอนความยินยอม คือข้อใด

34 / 46

ผู้ใดล่วงรู้ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่น เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 นำไปเปิดเผยแก่ผู้อื่น ต้องรับผิดทางอาญาตามข้อใด

35 / 46

หลักการสำคัญของสิทธิในการลบข้อมูลส่วนบุคคล คือข้อใด

36 / 46

ผู้มีหน้าที่ตรวจสอบการดำเนินงานของลูกจ้างหรือผู้รับจ้างของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล เกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

37 / 46

หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ขอให้เปิดเผยถึงการได้มาซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลที่ตนไม่ได้ให้ความยินยอม และผู้ควบคุมข้อมุลส่วนบุคคลไม่อาจปฏิเสธได้ เช่นนี้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องดำเนินการตามคำขออย่างไร

38 / 46

ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดมาตรการหรือแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

39 / 46

พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ได้บัญญัติโทษทางปกครองไว้ โดยกำหนดอัตราโทษปรับทางปกครองสูงสุดตามข้อใด

40 / 46

กรณีที่ต้องดำเนินการลบหรือทำลายหรือทำให้ข้อมูลไม่สามารถระบุตัวได้ หากผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่ดำเนินการ ท่านจะแนะนำให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทำอย่างไรตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

41 / 46

ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องแก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลตามหลักการข้อใด

42 / 46

ผู้มีอำนาจสั่งลงโทษปรับทางปกครอง

43 / 46

ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่แจ้งผลกระทบจากการถอนความยินยอม มีโทษตามข้อใด

44 / 46

เกี่ยวกับเลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ข้อใดไม่ถูกต้อง

45 / 46

อายุความในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 จะต้องไม่เกินระยะเวลาตามข้อใด

46 / 46

Right to Rectification คือ

Your score is

The average score is 53%

0%

เริ่มทำแบบทดสอบ คลิก Start ด้านบบ
** กรณีเจอโฆษณา คลิก Reload หน้านี้ใหม่ จนกว่าจะขึ้นข้อสอบ

พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

แนวข้อสอบ พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA)
แนวข้อสอบ พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA)

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *